กำหนดให้ f(x)=12x−9x3 สำหรับ 0<x<1 และ sinθ=a เมื่อ 0≤θ≤90∘ และ a เป็นจำนวนจริงที่ทำให้ f(a) เป็นค่าสูงสุดสัมบูรณ์บนช่วง (0,1) แล้ว
(cot2θ)(secθ−1)1+sinθ+(sec2θ)(sinθ−1)1+secθ
มีค่าเท่ากับเท่าใด
,
จัดรูป (cot2θ)(secθ−1)1+sinθ+(sec2θ)(sinθ−1)1+secθ โดยเปลี่ยนฟังก์ชันตรีโกณมิติทั้งหมดให้อยู่ในรูป sinθ กับ cosθ โดยเพื่อความสะดวกรวดเร็วจะเขียน s แทน sinθ และเขียน c แทน cosθ จากนั้นปรับส่วนให้เท่ากันทุกๆ จุด
=c2s2(1c−1)1+s+1c2(s−1)1+1c=c2s2(1c−cc)1+s+s−1c2cc+1c=c2(1−c)s2c1+s+s−1c2c+1c
ทำให้เหลือเศษส่วนแบบไม่ซ้อนหลายชั้น โดยกลับเศษส่วนของเศษส่วนซ้อนขึ้นไปคูณด้านบน
=c2(1−c)s2c(1+s)+s−1c2⋅cc+1=c2(1−c)s2c(1+s)+(s−1)cc2(c+1)=c(1−c)s2(1+s)+(s−1)c(c+1)
ปรับส่วนให้เท่ากัน โดยปรับส่วนเป็น s2c(1+s)(1+c)
=c(1−c)s2(1+s)⋅c(1+c)c(1+c)+(s−1)c(1+c)⋅s2(1+s)s2(1+s)=c2(1−c)(1+c)s2c(1+s)(1+c)+s2(s−1)(1+s)s2c(1+s)(1+c)=c2(1−c)(1+c)+s2(s−1)(1+s)s2c(1+s)(1+c)
กระจายผลคูณของตัวเศษแล้วใช้สูตรปีทาโกรัสของตรีโกณเปลี่ยน 1−sin2θ ไปเป็น cos2θ และเปลี่ยน 1−cos2θ ไปเป็น sin2θ
=c2(1−c2)+s2(s2−1)s2c(1+s)(1+c)=c2(s2)+s2(−c2)s2c(1+s)(1+c)=s2c2−s2c2s2c(1+s)(1+c)=0
ซึ่งท้ายที่สุดจะเห็นว่าพจน์ตรีโกณมิติที่ซับซ้อนๆ จัดรูปแล้วเหลือค่าเท่ากับ 0 ดังนั้นไม่ว่าจะได้ค่า θ ในขั้นตอนก่อนหน้านี้เท่าไหร่ก็แล้วแต่ คำตอบก็ยังคงเท่ากับศูนย์เช่นเดิม
,
ขั้นตอนนี้ไม่มีความจำเป็นต้องทำ แต่แสดงว่าเพื่อความสมบูรณ์ของเฉลยละเอียด
เพื่อหาค่าสูงสุดสัมบูรณ์ของ f(x)=12x−9x3 ในช่วง (0,1) คำนวณอนุพันธ์อันดับหนึ่งและอันดับสองของ f(x)
f(x)=12x−9x3f′(x)=12−3(9x2)=12−27x2
และ
f″(x)=0−2(27x)=−54x
คำนวณค่าวิกฤตโดยแก้สมการ f′(x)=0 จะได้
f′(x)=012−27x2=012=27x2
หารตลอดด้วย 27 แล้วตัดด้วย 3 ให้อยู่ในรูปเศษส่วนอย่างต่ำ
\begin{eqnarray*} 27x^{2} & = & 12\\ x^{2} & = & \frac{12}{27}\\ x^{2} & = & \frac{\cancelto{4}{12}}{\cancelto{9}{27}}\\ x^{2} & = & \frac{4}{9} \end{eqnarray*}
เขียน \frac49 ให้อยู่ในรูปกำลังสอง แล้วถอดรากที่สองทั้งสองข้างของสมการ
\begin{eqnarray*} x^{2} & = & \left(\frac{2}{3}\right)^{2}\\ x & = & \pm\frac{2}{3} \end{eqnarray*}
แต่จะเห็นว่ามีเพียง x=\frac23 เท่านั้นที่อยู่ในช่วง (0,1) เราจึงถือว่ามีค่าวิกฤตเพียงค่าเดียว คือ x=\frac23
ทดสอบค่าวิกฤต โดยแทน x=\frac23 ลงใน f''(x) = -54x จะได้
f''\left( \frac23 \right) = -54\left(\frac23 \right) < 0
ซึ่งมีค่าน้อยกว่าศูนย์ แสดงว่าค่าของ f\left( \frac23 \right) เป็นค่าสูงสุดสัมพัทธ์ในช่วง (0,1)
คำนวณค่าสูงสุดสัมพัทธ์ f\left( \frac23 \right)
\begin{eqnarray*} f\left(\frac{2}{3}\right) & = & 12\left(\frac{2}{3}\right)-9\left(\frac{2}{3}\right)^{3}\\ & = & 8-\frac{8}{3}\\ & = & \frac{24}{3}-\frac{8}{3}\\ & = & \frac{16}{3}\\ & \approx & 5.33 \end{eqnarray*}
ในขณะที่ในช่วง (0,1) ไม่มีขอบซ้าย กับขอบขวา ทำให้ค่า f\left( \frac23 \right) น่าจะเป็นค่าสูงสุดสัมบูรณ์ในช่วง (0,1) ไปด้วยเลย แต่เพื่อความมั่นใจ เราจึงทดสอบค่าของฟังก์ชัน f(x) เมื่อ x อยู่ในช่วง x<\frac23 และในช่วง x>\frac23 โดยการแทนค่า x=\frac12 และ x=\frac34 เพื่อมาเปรียบเทียบกับ f\left( \frac23 \right) ตามลำดับ จะได้
\begin{eqnarray*} f\left(\frac{1}{2}\right) & = & 12\left(\frac{1}{2}\right)-9\left(\frac{1}{2}\right)^{3}\\ & = & 6-\frac{9}{8}\\ & = & \frac{48}{8}-\frac{9}{8}\\ & = & \frac{39}{8}\\ & = & 4.875 \end{eqnarray*}
และ
\begin{eqnarray*} f\left(\frac{3}{4}\right) & = & 12\left(\frac{3}{4}\right)-9\left(\frac{3}{4}\right)^{3}\\ & = & 9-\frac{243}{64}\\ & = & \frac{576}{64}-\frac{243}{64}\\ & = & \frac{333}{64}\\ & \approx & 5.20 \end{eqnarray*}
จะเห็นว่า f\left( \frac23 \right) มีค่าสูงสุดในบรรดาทั้งสามค่า ดังนั้นจึงค่อนข้างเชื่อมั่นได้ว่า f \left( \frac23 \right) เป็นค่าสูงสุดสัมบูรณ์ในช่วง (0,1) ของ f(x) = 12x - 9x^3 จริง ดังนั้น a=\frac23 และ \sin\theta = \frac23 ซึ่งจะได้ \theta = \arcsin \frac23 นั่นเอง
เมื่อแทนค่าลงในพจน์ตรีโกณมิติ โดยการแทน \sin \theta = \frac23, \sec\theta = \frac{3}{\sqrt5} และ \cot\theta = \frac{\sqrt5}{2} ก็จะได้ผลลัพธ์เท่ากับศูนย์เช่นเดียวกัน
ข้อนี้ไม่ต้องหาค่า a กับ \theta ก่อนก็ได้ จัดรูปพจน์ตรีโกณมิติแล้วจะพบว่ามีค่าเท่ากับ 0 เสมอ จึงตอบ 0 ได้ทันที