บอกหมดไม่มีกั๊ก!!! เคล็ด(ไม่)ลับแยกตัวประกอบพหุนามดีกรีสอง

บอกหมดไม่มีกั๊ก!!! เคล็ด(ไม่)ลับแยกตัวประกอบพหุนามดีกรีสอง

"การแยกตัวประกอบพหุนาม" เป็นเนื้อหาพื้นฐานที่สำคัญในวิชาคณิตศาสตร์สำหรับน้อง ม. ต้น ที่จะใช้เป็นพื้นฐานในการเรียนต่อ ม. ปลาย หัวข้อการแยกตัวประกอบพหุนามดีกรีสองเป็นอีกเรื่องหนึ่งที่ออกสอบบ่อย และหลายคนบอกต่อเป็นเสียงเดียวกันว่าเป็นเรื่องที่ค่อนข้างยาก แต่วันนี้พี่มีเทคนิคดี ๆ ที่จะช่วยให้การแยกตัวประกอบพหุนามดีกรีสองกลายเป็นเรื่องง่าย ที่ทำให้น้อง ๆ สามารถเก็บคะแนนไปได้แบบชิล ๆ ถ้าพร้อมแล้ว คลิกอ่านกันเลย!

การแยกตัวประกอบของพหุนาม

การแยกตัวประกอบพหุนาม คือ การเขียนพหุนามในรูปการคูณกันของพหุนามที่มีดีกรีต่ำกว่าหรือเท่าเดิม 

 

รวมสูตรแยกตัวประกอบพหุนามสำคัญที่ต้องรู้ 

    *** ใช้บ่อย+ออกสอบประจำ

   

การแยกตัวประกอบพหุนามดีกรีสอง

    พหุนามดีกรีสอง คือ พหุนามที่เขียนอยู่ในรูป 

 

โดยที่ a, b และ c เป็นค่าคงที่, a ไม่เท่ากับ 0 และ x เป็นตัวแปร

1. การดึงตัวร่วม

    เป็นการดึงจำนวนที่เหมือนกันออกมาจากแต่ละพจน์ 

ตัวอย่างที่ 1

2. การแยกสองวงเล็บ

   วิธีการแยกสองวงเล็บ

        1)    หน้า x หน้า = พจน์หน้า

        2)    หลัง x หลัง = พจน์หลัง

        3)    (ใกล้ x ใกล้) + (ไกล x ไกล) = พจน์กลาง

   ทริคเด็ดช่วยแยกสองวงเล็บ

        1)     หน้า+กลาง+หลัง    =    (+) (+)

ตัวอย่างที่ 2

        2)     หน้า-กลาง+หลัง    =    (-) (-)

ตัวอย่างที่ 3

        3)     หน้า+กลาง-หลัง    =    (+) (-)

ตัวอย่างที่ 4

        4)     หน้า-กลาง-หลัง    =    (+) (-)

ตัวอย่างที่ 5

3. กำลังสองสมบูรณ์

ตัวอย่างที่ 6

ตัวอย่างที่ 7

4. ผลต่างกำลังสอง

ตัวอย่างที่ 8

ตัวอย่างที่ 9

 

*หากน้อง ๆ ยังไม่เข้าใจ สามารถกดทดลองเรียนได้นะ

 

จบแล้วสำหรับเทคนิคดี ๆ ในการแยกตัวประกอบพหุนามกำลังสอง

สำหรับน้อง ๆ คนไหนที่สนใจเรียนแบบจัดเต็ม ครบทุกเนื้อหาของ ม. ต้น

พี่ขอแนะนำ คอร์สเพิ่มเกรด ม.1 คอร์สเพิ่มเกรด ม.2 และ คอร์สเพิ่มเกรด ม.3

หรือ น้องที่สนใจ คอร์สสอบเข้า ม.4 เน้นแนวตะลุยโจทย์ก็มีนะ 

"มาทำให้ทุกความฝันเป็นจริงด้วยกันกับ OpenDurian"