ประพจน์ที่สมมูลกัน หมายถึง ประพจน์ที่ ไม่ว่าค่าความจริงของประพจน์ย่อยจะเป็นอะไรก็ตาม สุดท้ายจะต้องได้ค่าความจริงที่เหมือนกันเสมอ
การตรวจสอบการสมมูลกันโดยการสร้างตารางค่าความจริง
ในการตรวจสอบการสมมูลนั้นเราจะใช้วิธีการสร้างตารางค่าความจริงของทั้งสองประพจน์เพื่อเปรียบเทียบค่าความจริงในทุกกรณี
เช่น
ตรวจสอบการสมมูลโดยการสร้างตารางค่าความจริง
สมมูลกับ หรือไม่
จากสองประพจน์ที่กำหนดให้ มีประพจน์ย่อยทั้งหมด ประพจน์ ดังนั้น มีกรณีทั้งหมด ประพจน์
สร้างตารางค่าความจริงของ จะได้
สร้างตารางค่าความจริงของ
เปรียบเทียบค่าความจริงของทั้งสองประพจน์
จะเห็นว่าในทุกกรณีของประพจน์ย่อย ทั้งสองประพจน์จะให้ค่าความจริงที่เหมือนกันเสมอ
ดังนั้นทั้งสองประพจน์สมมูลกัน
สมมูลกัน
ตรวจสอบการสมมูลโดยการสร้างตารางค่าความจริง
สมมูลกับ หรือไม่
จากสองประพจน์ที่กำหนดให้ มีประพจน์ย่อยทั้งหมด ประพจน์ ดังนั้น มีกรณีทั้งหมด ประพจน์
สร้างตารางค่าความจริงของ จะได้
สร้างตารางค่าความจริงของ จะได้
เปรียบเทียบประพจน์ทั้งสอง จะได้
จากตารางด้านบนจะเห็นว่ามี กรณีที่ได้ค่าความจริงออกมาไม่เหมือนกัน เราจึงสรุปได้ว่าสองประพจน์ที่กำหนดให้ไม่สมมูลกัน
ไม่สมมูลกับ
จากตัวอย่างด้านบนจะเห็นว่าวิธีการสร้างตารางค่าความจริงจะต้องใช้เวลานานมาก ผิดพลาดได้ง่าย และต้องเขียนเยอะอีกต่างหาก วิธีนี้จึงไม่เป็นที่นิยม และไม่ค่อยมีคนใช้หรอก โดยทั่วไปเราจะใช้การลดรูปประพจน์ หรือการจัดรูปประพจน์ช่วยในการทำโจทย์ประเภทนี้มากกว่า
รูปแบบประพจน์ที่สมมูลกันที่ควรรู้
1. รูปแบบประพจน์ที่สมมูลกับประพจน์ที่มีตัวเชื่อมเป็นถ้าแล้ว เรามักจะเปลี่ยนเครื่องหมายถ้าแล้ว ให้อยู่ในรูปของเครื่องหมายหรือ
ถ้าแล้ว
2. การกระจายนิเสธ โดยปกติเราจะกระจายนิเสธเข้าไปในตัวเชื่อมที่เป็นและ กับตัวเชื่อมหรือ เท่านั้น ถ้าเป็นตัวเชื่อมอื่นให้เปลี่ยนเป็นตัวเชื่อม 'หรือ' หรือตัวเชื่อม 'และ' ก่อน
นิเสธ
3. การกระจายตัวเชื่อมและ หรือการกระจายตัวเชื่อมหรือ
การกระจาย
4. การสมูลกันของการเชื่อมประพจน์ด้วย กับ
ประพจน์ย่อยเชื่อมกับนิเสธ
5. การสมมูลกันในกรณีที่ประพจน์ใดประพจน์หนึ่งที่รู้ค่าความจริงแล้ว
ประพจน์ที่รู้ค่าความจริง
การตรวจสอบการสมมูลกันโดยใช้การลดรูปประพจน์ช่วย
การลดรูปประพจน์ คือ การที่เราจะทำให้ประพจน์ยาว ๆ ให้สั้นลงและดูง่ายขึ้น โดยจะใช้รูปแบบประพจน์ที่สมมูลกันด้านบนเป็นตัวช่วย
การตรวจสอบสมมูลโดยใช้การลดรูปประพจน์ช่วย
สมมูลกับ หรือไม่
ในการใช้การลดรูปประพจน์ช่วยนั้นเราจะลดรูปประพจน์ที่ละตัว อันนี้เรามาตัวตัวแรกกัน
จะได้ว่า
ต่อไปเรามาดูตัวที่สอง
จะได้ว่า
จากทั้งสองส่วนจะได้ว่า ดังนั้นทั้งสองประพจน์ที่กำหนดให้สมมูลกัน
ประพจน์ที่กำหนดให้ทั้งสองประพจน์สมมูลกัน
รูปแบบประพจน์ที่สมมูลกันที่ควรทราบ
1. รูปแบบประพจน์ที่สมมูลกับประพจน์ที่มีตัวเชื่อมเป็นถ้าแล้ว เรามักจะเปลี่ยนเครื่องหมายถ้าแล้ว ให้อยู่ในรูปของเครื่องหมายหรือ
2. การกระจายนิเสธ โดยปกติเราจะกระจายนิเสธเข้าไปในตัวเชื่อมที่เป็นและ กับตัวเชื่อมหรือ เท่านั้น ถ้าเป็นตัวเชื่อมอื่นให้เปลี่ยนเป็นตัวเชื่อม 'หรือ' หรือตัวเชื่อม 'และ' ก่อน
3. การกระจายตัวเชื่อมและ หรือการกระจายตัวเชื่อมหรือ
4. การสมูลกันของการเชื่อมประพจน์ด้วย กับ
-
- เนื่องจาก กับ มีค่าความจริงตรงข้ามอันแสดงว่าต้องมีตัวนึ่งเป็นจริงเสมอพอตัวเชื่อมเป็นหรือ จึงได้ว่าค่าความจริงเป็นจริงเสมอ
-
- เนื่องจาก กับ มีค่าความจริงตรงข้ามอันแสดงว่าไม่มีทางที่ทั้งสองประพจน์จะเป็นจริงทั้งคู่ จึงได้ว่าค่าความจริงเป็นเท็จเสมอ
-
- ถ้า มีค่าความจริงเป็นจริงจะได้ ซึ่งมีค่าความจริงเป็นเท็จ
- ถ้า มีค่าความจริงเป็นเท็จจะได้ ซึ่งมีค่าความจริงเป็นจริง
- จากทั้งสองกรณีได้ว่าค่าความจริงที่ได้จะตรงข้ามกับ เสมอ จึงได้ว่าสมมูลกับ
-
- ถ้า มีค่าความจริงเป็นจริงจะได้ ซึ่งมีค่าความจริงเป็นจริง
- ถ้า มีค่าความจริงเป็นเท็จจะได้ ซึ่งมีค่าความจริงเป็นเท็จ
- จากทั้งสองกรณีได้ว่าค่าความจริงที่ได้จะเหมือนกับ เสมอ จึงได้ว่าสมมูลกับ
-
- เนื่องจาก กับ มีค่าความจริงตรงข้ามอันแสดงว่าไม่มีทางที่ทั้งสองประพจน์จะมีค่าความจริงเหมือนกัน จึงได้ว่าค่าความจริงเป็นเท็จเสมอ
5. การสมมูลกันในกรณีที่ประพจน์ใดประพจน์หนึ่งที่รู้ค่าความจริงแล้ว