อนุพันธ์ของฟังก์ชันประกอบ (Derivatives of Composite Functions)
สูตรการหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันประกอบนี้ เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "กฎลูกโซ่ (chain rule)"
กฎลูกโซ่ ถ้า เป็นฟังก์ชันที่หาอนุพันธ์ได้ที่ และ เป็นฟังก์ชันที่หาอนุพันธ์ได้ที่ แล้ว หาอนุพันธ์ได้ที่ และ
จากสูตร ถ้าให้ และให้
จะได้
นั่นคือ
เพราะฉะนั้น สูตรกฎลูกโซ่สามารถเขียนในอีกรูปแบบหนึ่งได้ว่า
ถ้า และ หาค่าได้แล้ว
ว่าด้วยเรื่องของสัญลักษณ์ นั้น หมายถึงการหาอนุพันธ์ของ เทียบกับ คือมอง เป็นตัวแปรนั่นเอง ดังนั้น คือการหาอนุพันธ์ของ เมื่อมอง เป็นตัวแปร และ คือการหาอนุพันธ์ของ เมื่อมอง เป็นตัวแปร
ตัวอย่างการหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันประกอบ
กำหนดให้ จงหาอนุพันธ์ของ
ให้ จะได้
จะได้
การใช้กฎลูกโซ่นั้น สามารถมองให้ง่ายขึ้นโดยการ "ดิฟไส้" เช่นในตัวอย่างที่ 1 จาก หากเรามองให้ เป็นไส้ วิธีการหาอนุพันธ์ในข้อนี้คือให้หาอนุพันธ์โดยมองภาพรวมใหญ่ๆ ให้ คือตัวแปรตัวหนึ่ง เราจะหาอนุพันธ์ได้เป็น แล้วให้ "ดิฟไส้" ก็คือหาอนุพันธ์ของ อีกครั้ง จะได้
ตัวอย่างที่ 2
กำหนดให้ จงหาอนุพันธ์ของ
เรามอง เป็นไส้ จะได้
ตัวอย่างที่ 3
กำหนด จงหา
จะได้
ดังนั้น
ตัวอย่างที่ 4
กำหนดฟังก์ชัน จงหา
ในข้อนี้ เราจะหาอนุพันธ์ของฟังก์ชัน เทียบกับ นั่นคือมอง เป็นตัวแปร
จะได้
ดังนั้น
ตัวอย่างการใช้กฎลูกโซ่รวมกับสูตรผลคูณและสูตรผลหาร
ตัวอย่างที่ 6
กำหนด จงหาอนุพันธ์ของ
ข้อนี้ อยู่ในรูปของผลคูณของ และ ดังนั้นจึงต้องใช้สูตรผลคูณก่อน
ตัวอย่างที่ 7
กำหนด จงหา
ข้อนี้เราสามารถมอง เป็น "ไส้" โดยที่อยู่ในรูปของผลหาร
จะได้
ดิฟไส้ ต้องใช้สูตรผลหาร
จะได้
แทนใน จะได้
ดังนั้น
ตัวอย่างการใช้กฎลูกโซ่เมื่อทราบค่าของอนุพันธ์ของบางฟังก์ชัน
ตัวอย่างที่ 8
กำหนดให้ และ จงหา
จะได้